"นมเป็นสาเหตุทำให้เกิดสิว"
ในน้ำนมมีอะไร ทำไมกินแล้วถึงเป็นสิว?
· ฮอร์โมนที่อยู่ในวัว เป็นปัจจัยหลักที่เป็นผู้ต้องสงสัยทำให้เกิดสิว
ถ้ามองถึงความเป็นไปได้ก็คงไม่ต่างกับคนที่เป็นสิวเพราะการกระตุ้นของฮอร์โมน
· ไอโอดีนกระตุ้นการเกิดสิว
ไอโอดีนถูกยกให้เป็นอีกหนึ่งผู้ต้องสงสัยที่ทำให้เวลากินนมแล้วสิวขึ้น
โดยไอโอดีนเป็นสารที่ผู้เลี้ยงให้กับวัวเพื่อช่วยในเรื่อภูมิต้านทานในร่างกาย
โดยการเป็นสิวเพราะไอโอดีนนั้นจะคล้ายกับคนที่สิวขึ้นเวลากินอาหารทะเล
เพราะในอาหารทะเลก็มีปริมาณไอโอดีนสูงเหมือนกัน
กินช็อกโกแลตทำให้เป็นสิว จริงเหรอ?
ช็อกโกแลตที่เราทานกันนั้นประกอบด้วยนมและน้ำตาลในปริมาณที่สูงมากเมื่อเทียบกับส่วนประกอบทั้งหมด
และอยู่ในปริมาณที่สูงเมื่อเทียบกับขนมอื่นๆ
ซึ่งจากผลการวิจัยบอกว่าการได้รับน้ำตาลในปริมาณที่สูงต่อวันจะทำให้สารไอจีเอฟมากขึ้น
โดยสารตัวนี้จะทำให้ผิวหนังเกิดการแบ่งตัวเร็วขึ้น และมีความหนาขึ้น
ทำให้รูขุมขนของเราเล็กแคบลงเกิดการอุดตันขึ้นได้ง่าย จึงเป็นการกระตุ้น
รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเกิดสิวอุดตันนั่นเอง
ส่วนในนมที่นำมาใช้ในการทำช็อกโกแลตส่วนใหญ่ที่เราทานกัน
เป็นนมที่มีไขมัน รวมทั้งนมเป็นส่วนประกอบหลักของช็อกโกแลต ซึ่งพบว่าการบริโภคนมหรือผลิตภัณฑ์ใดๆที่ทำจากนมมากเกินไปจะทำให้เกิดสิวเช่นเดียวกับน้ำตาล
โดยรวมทำให้ร่างกายอ่อนแอลง
ภูมิต้านทานลดลง จึงควรเข้านอนก่อน 22:00 น.
หรือก่อน 24:00 น. ให้ได้ และพักผ่อนให้ครบ 6
- 8 ชม. เพราะช่วงเวลา 22:00 น. - 02.00 น. ร่างกายจะมีการผลิตและซ่อมแซมเซลล์ผิวใหม่
ก่อนอื่นของพูดหลักการการลดสิวของยาคุมเหล่านี้อย่างสั้นๆกันก่อน คืออย่างที่เราเข้าใจกันอยู่แล้วว่า สิวฮอร์โมนนั้นมันเกิดจาการที่ฮอร์โมนในร่างกายของเรามันไม่สมดุลกัน โดยฮอร์โมนที่ทำให้เกิดสิวนั้นก็คือฮอร์โมนแอนโดรเจน(Androgen) ซึ่งมันก็คือฮอร์โมนเพศชายนั่นเอง พูดง่ายๆคือร่างกายของคนเป็นสิวฮอร์โมนมักจะมีฮอร์โมนแอนโดรเจนมากเกินความเป็นจริง เพราะฉะนั้นหากเราต้องการรักษาสิวที่เกิดจากความไม่สมดุลของฮอร์โมนนั้น ก็ทำได้โดยการพยายามลดฮอร์โมนแอนโดรเจนลง ไม่ให้มันมีมากเกินไป เมื่อฮอร์โมนเพศชายลดลง อาการหน้ามัน ผมร่วง เป็นสิวก็น้อยลงตามไปด้วยนั่นเอง
เครียด นอนดึก
ทำให้เกิดสิวจริงหรอ
เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ฮอร์โมนเพศในร่างกายจะมีระดับสูง
ซึ่งมีผลกระตุ้นต่อมไขมันให้ทำงานมากขึ้น ผลิตไขมันออกมามาก
ส่งเสริมให้เกิดการอุดตันได้ง่าย หากร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอ
เครียด อดนอน ยิ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการอักเสบของสิวมากขึ้น.
การนอนดึกทำให้ร่างกายเกิดความเครียดขึ้น
เพราะมีเวลาพักผ่อนฟื้นฟูสภาพผิวน้อยลง การขยายของแผลสิวและเปิดสิวจะช้าลงกว่าเดิม
ทั้งยังทำให้มีการหลั่งของฮอร์โมนในร่างกายที่ผิดปกติจากความเครียดที่ว่า
เป็นผลทำให้หน้ามันมากขึ้น รูขุมขนขยาย เกิดสิวเห่อ สิวอัดเสบเปิดใหญ่
หรือเป็นเม็ดไตสิวขึ้นได้
ทำไมยาคุมถึงช่วยลดการเกิดสิวได้?
ก่อนอื่นของพูดหลักการการลดสิวของยาคุมเหล่านี้อย่างสั้นๆกันก่อน คืออย่างที่เราเข้าใจกันอยู่แล้วว่า สิวฮอร์โมนนั้นมันเกิดจาการที่ฮอร์โมนในร่างกายของเรามันไม่สมดุลกัน โดยฮอร์โมนที่ทำให้เกิดสิวนั้นก็คือฮอร์โมนแอนโดรเจน(Androgen) ซึ่งมันก็คือฮอร์โมนเพศชายนั่นเอง พูดง่ายๆคือร่างกายของคนเป็นสิวฮอร์โมนมักจะมีฮอร์โมนแอนโดรเจนมากเกินความเป็นจริง เพราะฉะนั้นหากเราต้องการรักษาสิวที่เกิดจากความไม่สมดุลของฮอร์โมนนั้น ก็ทำได้โดยการพยายามลดฮอร์โมนแอนโดรเจนลง ไม่ให้มันมีมากเกินไป เมื่อฮอร์โมนเพศชายลดลง อาการหน้ามัน ผมร่วง เป็นสิวก็น้อยลงตามไปด้วยนั่นเอง
ทำไมจึงเป็นสิวช่วงมีรอบเดือน
ผู้หญิงส่วนมากจะรู้สึกตัวล่วงหน้าก่อนการมีประจำเดือนประมาณ 3-7 วัน
แต่สิ่งที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสาวๆ นั้นเกิดขึ้นก่อนเวลานั้นไปอีกราวๆ 14
วันซึ่งเป็นเวลาที่ฮอร์โมนของร่างกายเริ่มเพิ่มระดับขึ้น
ระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen) และโปรเจสเตอโรน (progesterone)
จะแกว่งไปมาเมื่อรังไข่เริ่มสร้างฮอร์โมนอีกตัวหนึ่งคือเทสโตสเตอโรน
(testosterone) ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะทำให้มีการผลิตน้ำมันจากต่อมไขมันเพิ่มมากขึ้นและทำให้รูขุมขนหดตัวลง
สองอย่างนี้รวมกันเป็นสาเหตุอย่างดีที่จะทำให้รูขุมขนอุดตันและ เกิดสิวอักเสบ
และเหมือนเคราะห์ซ้ำกรรมซัด (โห ว่าไปนั่น)
ฮอร์โมนเทสโตสเตอโรนจะทำหน้าที่เพิ่มปริมาณไขมันขึ้นไปอีก ทำให้ใบหน้าของสาวๆ
หลายคนต้องกลายเป็นสนามประชันเม็ดสิวกนไปเลยเชียว และเชื่อได้เลยว่ามีสาวๆ หลายคนที่ไม่ได้กลับไปตรวจดูปฏิทินเมื่อเป็นสิวหรอก
ทั้งที่จริงๆ
แล้วเป็นวิธีที่ง่ายมากที่จะช่วยยืนยันว่าการเป็นสิวนี้เกิดเพราะระดับของฮอร์โมนในร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป
ซึ่งถ้าการเป็นสิวอยู่ภายในเวลาสองสัปดาห์ของการมีรอบเดือน
หรือสิวนั้นเกิดขึ้นบริเวณแนวขากรรไกรล่างหรือบริเวณคาง ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว
ก็เป็นไปได้มากๆ ที่เรากำลังเผชิญกับการเป็นสิวในช่วงมีรอบเดือนนั่นเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น